[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
มณฑลทหารบกที่ 34 ค่ายขุนเจืองธรรมิกราช ต.ท่าวังทอง อ.เมือง จ.พะเยา 56000 : ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
มณฑลทหารบกที่ 34 ยินดีตอนรับทุกท่านที่มาเยือน
เมนูหลัก
ลิงค์แนะนำ
ลิงค์แนะนำ

ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 68 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ค้นหาจาก google
สถิติผู้เยี่ยมชม

 เริ่มนับ 31/มี.ค./2558
ผู้ใช้งานขณะนี้ 8 IP
ขณะนี้
8 คน
สถิติวันนี้
1677 คน
สถิติเมื่อวานนี้ี้
1726 คน
สถิติเดือนนี้
13742 คน
สถิติปีนี้
425908 คน
สถิติทั้งหมด
1794177 คน
IP ของท่านคือ 44.192.49.72
(Show/hide IP)

  

  หมวดหมู่ : ความรู้ทางทหาร
เรื่อง : สายอากาศแสวงเครื่องโมซอน
โดย : admin
เข้าชม : 5645
อังคาร ที่ 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2558 [ ดาวน์โหลด แฟ้มข้อมูลประกอบ ] ปักหมุดและแบ่งปัน
     

ปัจจุบันการติดต่อสื่อสารทางวิทยุของทหาร เป็นสิ่งสำคัญ ในการติดต่อระหว่าง ผู้บังคับบัญชา, และส่วนอื่นๆ  ซึ่งสายอากาศที่หน่วยทหารใช้อยู่ปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นรูปแบบ การกระจายคลื่นรอบตัว เช่น RC-292 เหมาะสำหรับพื้นที่รวมพลในรัศมีวงกลม  สำหรับคู่สถานีที่อยู่ห่างไกล (15-20 กม.)  การใช้งานยังมีข้อจำกัดในการรับส่ง โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นภูมิประเทศเขาสูง สลับซับซ้อน  และยังใช้เวลาในการประกอบติดตั้งนาน   สายอากาศแสวงเครื่อง “โมซอน” ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง รูปแบบกระจายคลื่นแบบบังคับทิศทาง  เหมาะสำหรับคู่สถานีที่อยู่ห่างไกล ทราบมุมภาคทิศทางของกันที่แน่นอน โดยหันสายอากาศเข้าหากัน  สำหรับวิทยุทางทหารก่อนการใช้งานต้องวัดค่ากำลังส่งของวิทยุที่ดีที่สุด วัตต์มากที่สุด ใกล้เคียงค่ามาตรฐาน โดยใช้เครื่องมือ SWR  วิทยุ PRC ที่ดีที่สุดจากการทดลองใช้งานกำลังส่งค่อนข้างคงที่ คือ RC-624 และ ตระกูล CNR เป็นต้น

การทดลองทำสายอากาศชนิดนี้จะเป็นทางเลือกทางหนึ่ง เพราะมีขนาดเล็ก (ความถี่ต่ำ สายอากาศจะมีขนาดใหญ่ขึ้นตามลำดับ) สร้างง่าย นำพาไปกับยานพาหนะสะดวก เหมาะสำหรับสถานีประจำที่หรือหน่วยทหารปืนใหญ่ (ศอย.,ผตน.) (หากนำพาด้วยบุคคลแนะนำให้ใช้สายอากาศแสวงเครื่องคอร์ลิเนียไดโฟลด้วยสาย โทรศัพท์ซึ่งมีให้ศึกษาในเว็บนี้) ใช้ได้ในย่าน VHF (Very high frequency) หรือ FM จากการทดสอบ
ในสถานการณ์การฝึกของหน่วย ป.พัน.17 ออกแบบจัดทำโครงสร้างและทดสอบโดย ร.ต.สมพงษ์ จินดา (มทบ.37) มีผลและประสิทธิภาพ การรับและส่งที่ดีเยี่ยมเป็นที่น่าพอใจของผู้บังคับบัญชาและผู้เข้ารับการฝึก ทำให้ภารกิจประสบผลสำเร็จไปด้วยดี

ท่านสามารถดาวน์โหลดคู่มือการทำและโปรแกรมคำนวณไปศึกษาได้
ตามอัธยาศัย







Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

ความรู้ทางทหาร5 อันดับล่าสุด

      สายอากาศแสวงเครื่องโมซอน 12/พ.ค./2558
      การสร้างสายอากาศเร่งด่วน 12/พ.ค./2558


www.rta.mi.th/gjag/ ข่าวทหารบก
ตรวจสอบยอดเงิน อทบ. คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล สหกรณ์ออมทรัพย์
การประชุมหน่วยขึ้นตรงกองทัพบก http://korlor.cloud.rta.mi.th/
เชิญอ่านต่อ